ไขมันดี (HDL) Vs ไขมันเลว (LDL)
Published : 11 April 2024
จันทร์ – ศุกร์
9.00 - 17:00
02-101-6345, 082-854-4872, 098-287-8472, 098-828-8124
miclabthailand@gmail.com
บริษัท เมดิคอล อินโนเวชัน เซ็นเตอร์ จำกัด
เลขที่ 7 ซอยจัดสรร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง
กรุงเทพฯ 10310
Customer:
Report date |
Patient name |
HN |
Lab Number |
Test |
Specimen |
Results |
File Download |
---|---|---|---|---|---|---|---|
Received date | Patient name | HN | Lab Number | Specimen |
Results |
Test | File Download |
Published : 11 April 2024
Published : 21 March 2024
Published : 15 June 2023
Published : 17 January 2023
Published : 01 November 2022
Published : 17 October 2022
Published : 05 August 2022
Published : 22 April 2022
Published : 10 November 2020
Published : 09 November 2020
Published : 09 November 2020
Published : 09 November 2020
Published : 05 August 2020
Published : 24 April 2020
Published : 23 April 2020
Published : 23 April 2020
Published : 09 November 2020
ภูมิแพ้อาหารแบบแฝงหรือเรียกอีกชนิดว่าแพ้อาหารแบบเรื้อรังนั้น เกิดจากภูมิ (antibody) ชนิด Immunoglobulin G (IgG) ที่ร่างกายสร้างมาต่อต้านอาหาร โดยที่ความรวดเร็วในการเกิดปฏิกิริยาและอาการแพ้หลังจากที่ทานอาหารที่แพ้เข้าไป ไม่ได้เกิดขึ้นรวดเร็วทันทีทันใดแบบเห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับภูมิแพ้แบบปกติ (แบบเฉียบพลัน) ซึ่งจุดนี้เป็นจุดสำคัญที่ทำให้คนที่มีอาการต่างๆเหล่านี้ไม่ทราบว่าอาการนั้นเกิดจากสาเหตุใด และไม่ทราบว่าได้เกิดการแพ้อาหารชนิดนั้นๆขึ้นมา กลไกของการแพ้อาหารแบบแฝงนั้น เริ่มจากเมื่อเราบริโภคอาหารที่แพ้เข้าไป เม็ดเลือดขาว (White blood cell) ได้สร้าง Antibody ที่จำเพาะต่ออาหารชนิดที่เราแพ้นั้นๆ ในทางเดินอาหารของเรา สำหรับอาหารที่ไม่ได้แพ้ก็จะถูกดูดซึมผ่านผนังลำไส้เล็กเพื่อที่จะไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายผ่านตามกระแสเลือดตามปกติ แต่อาหารที่แพ้ จะมี Antibody จับกับอาหารที่แพ้ และเกิดเป็นอนุภาคที่ก่อให้เกิดการอักเสบ และอนุภาคเหล่านี้เองจะเดินทางไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย แล้วก่อให้เกิดการอักเสบที่ร่างกายตามจุดต่างๆ ซึ่งลักษณะอาการต่างๆที่เกิดขึ้น และชนิดของอาหารที่แพ้ จะแตกต่างกันไปตามแต่ละบุคคล